วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ

 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ

    1) ข้อมูล

      ข้อมูล(data) หมายถึง ข้อเท้จจริงหรือเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่น บันทึกข้อความ รายงานการประชุม เป็นต้น

   2) สารสนเทศ

    สารสนเทศ (information) หมายถึง ข้อมูลต่างที่ผ่านการประมวลผลแล้ว แม่นยำและตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เช่น การห่าค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดในแต่ละวัน

  3) ลักษณะของข้อมูลที่ดี

    ข้อมูลที่ดีและมีคุณภาพ มีความสมบูรณืในระดับที่เหมาะสมและต้องการของผู้ใช้ โดยข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
         -มีความถูกต้องแม่นยำ
         - มีความสมบูรณ์ครบถ้วน
         - ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน
         - ความสอดคล้องของข้อมูล

 4) ชนิดและลักษณะของข้อมูล

   ข้อมุลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่
      -ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (numeric data) คือข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำไปคำนวณได้ เขียนได้หลายรูปแบบ คือ
                -ข้อมูลที่เป็นตัวเลข คือ ไม่มีจุดทศนิยม เช่น
         1       2      3       4       5     6       7    8      9    0   -1    -2 เป็นต้น
      -เลขทศนิยม คือตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำนวนเต็ม เช่น
          -8.2             64.20           0.82115           110.821564
                     สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
               ก) แบบที่ใช้ทั่วไป เช่น 7.0, 35.73, 355.158, -41.89  เป็นต้น
               ข) แบบที่ใช้งานทางวิทยาศาสตร์
                - ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (character data) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรและไม่สามารถนำไปคำนวณได้  แต่นำมาเรียงต่อกันให้มีความหมายได้ เช่น ICT,COMPUTER,Network,internet เป็นต้น
                                        Information and Communication Technology

  5) ประเภทของข้อมูล 

   แบ่งข้อมูลได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
        - ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) คือข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง จะมีความถูกต้อง ทันสมัย และเป็นปัจจุบ้น เช่น ข้อมูลจากการสมัภาษณ์
        - ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมหรือเรียบเรียงไว้แล้ว ซึ่งสามารถนำมามใช้อ้างอิงได้ เช่น ข้อมูลสภาพอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา

  2.2 กระบวนการจัดการสารสนเทศ

          เราสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท

    1) การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล

          -การรวบรวมข้อมูล ซึ่งใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บข้อมูล เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
         - การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการรวบรวมข้อมูลต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง ซึ่งหากพบความผิดพลาดก็จะต้องแก้ไขอาจใช้สายตาของมนุษย์หรือใช้คอมพิวเตอร์ช่วยตรวจสอบ

   2) การประมวลผลข้อมูล

         ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้
              -การจัดกลุ่มข้อมูล  ควรจัดกลุ่มเป็นหมวดหมูที่ชัดเจน เพื่อเตรียมไว้สำหรับในการสำหรับครั้งต่อไป
              -การสรุปผลข้อมูล จัดเรียงข้อมูลที่มีความสำคัญตามลำดับตัวเลขหรือักขระเพื่อสะดวกและประหยัดเวลาในการค้นหาข้อมูล
              -การสรุปผลข้อมูล หลังการจัดเรียงลำดับความสำคัญแล้ว ก็ควรสรุปข้อมูลเหล่านั้นให้กระชับและได้ใจความสำคัญ

   3) การจัดเก็บข้อมูลและดูแลรักษาข้อมูล

          ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
              -การเก็บรักษาข้อมูล ประมวลผลแล้วมาบันทึกไว้ในสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์
              -การทำสำเนาข้อมูล การคัดลอกข้อมูลจากต้นฉบับเพื่อเก็บรักษา หากข้อมูลนั้นเสียหาย ก็สามารถนำข้อมูลที่ทำสำเนาไว้มาใช้ได้ในทันที

  4) การแสดงข้อมูล

         -การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล ข้อมูลข่าวสาร ผู้ใช้งานก็สามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์
         -การปรับปรุงข้อมูล หลังจากที่ได้เผยแพร่ข้อมูลไปแล้ว ก็ควรมีการติดตามผลตอบกลับ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัยอยูาตลอดเวลา

    2.3)ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์

     1)ระบบเลขฐานสอง 

       เนื่้องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้าแทนตัวเลขศูนย์ (0) และหนึ่ง (1) โดยจะเรียกว่า บิด และเมื่อนำตัวเลขหลลายๆบิดมาเรียงต่อกัน (8 บิด เท่ากับ 1 ไบต์) จะใช้สร้างรหัสแทนจำนวน สัญลักษณ์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้
 

     2) รหัสแทนข้อมูล

          -รหัสแอสกี เป็นรหัสแทนข้อมูลด้วยเลขฐานสองจำนวน 8 บิด หรือเท่ากับ 1 ไบต์ ซึ่งหมายความว่าการแทนอักขระแต่ละตัวจะประกอบด้วยเลขฐานสอง 8 บิดเรียงกัน
          
         -รหัสยูนิโค้ด เป็นรหัสแทนข้อมูลด้วยเลขฐานจำนวน 18 บิด เนื่องจากตัวอักษรบางประเภทเป็นตัวอักษรแบบรูปภาพ ด้วยเหตุนี้จึงได้สร้างรหัสใหม่ขึ้นมาแทน โดนแทนตัวอักขระได้ 65,536 ตัว และยังใช้แทนสัญลักษณ์กราฟิกสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย 

    3) การจัดการจ้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 

         -บิด (bit) คือตัวเลขหลักใดหลักหนึ่งในระบบเลขฐานสอง (0 กับ 1) ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล
        -ตัวอักขระ (character) คือ ตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายใดๆ แต่ละตัวจะต้องใช้เลขฐานสองจำนวน 8 บิด หรือ 1 ไบต์ ในการแทนข้อมูล
        -เขตข้อมูล (field) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระเรียงต่อกัน
        -ระเบียนข้อมูล (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่ 1 เขต ข้อมูลขึ้นไป
        -แฟ้มข้อมูล (file) คือ กลุ่มของระเบียนข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ตั้งแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป
        -ฐานข้อมูล (database) คือ เป็นทีรวบรวมแฟ้บข้อมูลหลายๆ แฟ้มเข้าด้วยกัน จะต้องมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เหมือนกันเป็นตัวเชื่อมระหว่างกัน

เขตข้อมูล


แฟ้มข้อมูล



ฐานข้อมูล

            คำถาม
    1. สุณิสา มีกี่บิด(bit) ?